Home Isolation ท่านสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้น เมื่อต้องกักตัวแล้วมีอาการดังนี้

Home Isolation ท่านสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้น เมื่อต้องกักตัวแล้วมีอาการดังนี้ เมื่อกักตัวแล้วมีอาการต่างๆ ท่านสามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นตามคำแนะนำเหล่านี้ 1. มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส – พักผ่อนให้เพียงพอราว 8 ชั่วโมงต่อวัน – ดื่มน้ำมากๆ แนะนำว่าควรดื่มน้ำเรื่อยๆ เมื่อดื่มน้ำเพียงพอสังเกตสีของปัสสาวะจะเป็นสีเหลืองอ่อน – รับประทานยาพาราเซตตามอลทุก 4-6 ชั่วโมง ครั้งละ 1 เม็ด – เช็ดตัวบริเวณคอ หรือข้อพับต่าง ๆ เพื่อลด ความร้อน 2. มีอาการไอ – หลีกเลี่ยงการนอนราบ ให้นอนตะแคง หรือ นอนหมอนสูง – รับประทานยาแก้ไอ หรือยาอมบรรเทาอาการไอ – จิบน้ำผึ้งผสมน้ำอุ่น (ห้ามให้กับเด็กอายุต่ำกว่า 12 เดือนเด็ดขาด) 3. มีอาการหายใจลำบาก หายใจไม่สะดวก – เปิดหน้าต่าง หรืออยู่ในห้องที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก – หายใจช้า ๆ…

Home Isolation การแยกกักตัวที่บ้านสำหรับผู้ป่วย COVID-19

Home Isolation การแยกกักตัวที่บ้านสำหรับผู้ป่วย COVID-19 สำหรับผู้ที่แพทย์ให้ทำ Home Isolation จะมีข้อปฏิบัติ อุปกรณ์ และสิ่งต่างๆ ที่ทางรพ.จะสนับสนุนให้เมื่อต้องทำการกักตัว การแยกกักตัวที่บ้านสำหรับผู้ป่วยที่ 1. รอ Admit ที่รพ.และเป็นผู้ที่แพทย์พิจารณาว่ารักษาที่บ้านได้ 2. รักษาตัวในรพ. หรือสถานที่ที่รัฐจัดให้อย่างน้อย 10 วัน แล้วจำหน่ายเพื่อ Home Isolation ต่อ ผู้ที่เข้าเกณฑ์การทำ Home Isolation 1.ผู้ติดเชื้อที่สบายดี หรือไม่มีอาการ 2. มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 3. มีอายุน้อยกว่า 60 ปี 4. ไม่มีโรคร่วมดังต่อไปนี้ – โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง – โรคไตเรื้อรัง – โรคหัวใจและหลอดเลือด – โรคหลอดเลือดในสมอง – เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ – หรือโรคอื่นๆตามดุลยพินิจของแพทย์ 5. มีห้องแยกที่เป็นสัดส่วนชัดเจน 6. น้ำหนักน้อยกว่า 90…

การสังเกตอาการ COVID-19 และจำแนกตนเองตามสี

การสังเกตอาการ COVID-19 และจำแนกตนเองตามสี หลังจากที่ท่านทราบว่าผลการตรวจว่าเราติด COVID-19 ให้ท่านลองสังเกตอาการและจำแนกตนเองตามสีดังนี้ 1. ผู้ป่วยสีเขียว ไม่มีอาการรุนแรง มีไข้ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ ไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่รับรส ตาแดง มีผื่น ถ่ายเหลว ไม่มีอาการ หายใจเร็ว หายใจเหนื่อย หรือหายใจลำบาก ไม่มีปอดอักเสบ มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรง หรือโรคร่วมสำคัญ 2. ผู้ป่วยสีเหลือง มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรครุนแรง หรือโรคร่วมสำคัญข้อใดข้อหนึ่ง แน่นหน้าอก อ่อนเพลีย เวียนศรีษะ หายใจเร็ว หอบเหนื่อย หายใจลำบากหรือเวลาไอแล้วเหนื่อย ปอดอักเสบ ถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้ง/วัน ร่วมกับมีอาการหน้ามืด วิงเวียน 2. ผู้ป่วยสีแดง หอบเหนื่อย พูดไม่เป็นประโยคขณะสนทนา แน่นหน้าอกตลอดเวลา เจ็บหน้าอกขณะหายใจ เรียกไม่รู้สึกตัว มีอาการเซื่องซึม ตอบสนองช้า ปอดบวม ที่มีออกซิเจนปลายนิ้วขณะพัก <96%…