Pethidine

ข้อมูลยา Pethidine (50 mg/ml) Injection ข้อบ่งใช้บรรเทาอาการปวด ค่าที่เฝ้าติดตามPain Score, BP, RR, HR ก่อนและหลังให้ยา ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาIV Push หลังฉีดทันทีและทุก 5 นาที รวม 4 ครั้ง จากนั้นทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง IM หลังฉีดทันทีและทุก 15 นาที รวม 4 ครั้ง จากนั้นทุก 30 นาที รวม 2 ครั้ง อาการที่ควรระวังความดันต่ำ, กดการหายใจ กล้ามเนื้อสั่น, N&V ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการความดันต่า (BP<90/60), HR<60 ครั้ง/นาที, กดการหายใจ (RR<12), กล้ามเนื้อสั่น, ชัก

High Alert Drug

High Alert Drug in Hospital for tropical disease Adrenergic agonists: Narrow Therapeutics Index: 1.Adrenaline (1mg/ml) Inj. 8. Digoxin (250mcg/ml) Inj. (Lanoxin®) 2.Dopamine (50mg/5ml) Inj. Narcotic: 3.Dobutamine (250mg/20ml) Inj. 9. Pethidine (50mg/ml) Inj. 4. Norepinephrine (4mg/4ml) Inj. 10. Morphine (10mg/ml) Inj. Antiarrhythmics: Insulins (100units/ml): 5.Cordarone (150 mg/3ml) Inj. 11. Humulin R (10ml) Inj. (IV route) High…

Morphine

ข้อมูลยา Morphine (10 mg/ml) Injection ข้อบ่งใช้บรรเทาอาการปวด ค่าที่เฝ้าติดตามPain Score, BP, RR, HR ก่อนและหลังให้ยา ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาIV Push หลังฉีดทันทีและ 15 นาที IV Infusion หลังฉีดทันทีและทุก 1 ชั่วโมง  IM หลังฉีดทันทีและ 30 นาที อาการที่ควรระวังความดันต่ำ, กดการหายใจ กล้ามเนื้อสั่น, N&V ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการความดันต่ำ (BP <90/60), Pain Score ≥4, HR <60BPM, Sedation score ≥2, RR ≤12 ครั้ง/นาที

ฟ้าทะลายโจร กับ COVID-19

ฟ้าทะลายโจร กับ COVID-19 ข้อมูลทั่วไป  ชื่อวิทยาศาสตร์: Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees ชื่ออื่น: หญ้ากันงู, น้ำลายพังพอน, ฟ้าสาง, เมฆทะลาย, ฟ้าสะท้าน สารสำคัญ: Andrographolide, NeoAndrographolide, 14-deoxy-andrographolide ส่วนที่ใช้:  ทั้งต้น ใบสด ใบแห้ง โดยใบจะเก็บมาใช้ได้เมื่อต้นมีอายุได้ 3-5 เดือน ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ห้ามใช้ ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดความผิดปกติกับทารกในครรภ์ได้ ห้ามใช้ ในผู้ป่วยโรคตับ ไต หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการอ่อนแรง ระวังการใช้ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด และยาลดความดันโลหิต เนื่องจากอาจเสริมฤทธิ์กันได้ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยกลุ่มโรคภูมิต้านตนเอง เช่น โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคลูปัสหรือเอสแอลอี โรครูมาตอยด์ เนื่องจากอาจกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ไวต่อการทำงานมากขึ้น อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นหลังรับประทาน อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ…

สาระยาน่ารู้

วัคซีนโรคไอพีดียาลดไข้กับโรคไข้เลือดออกวันหมดอายุและวิธีการเก็บรักษายาการสังเกตยาเสื่อมสภาพฟ้าทะลายโจร กับ COVID-19ยาสเตียรอยด์ยาชุด ยาต้ม ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอนเกลือแร่….ต่างกันอย่างไรกินยาพร้อมนมได้หรือไม่ หน่วยวิชาการ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน

ยาลดไข้กับโรคไข้เลือดออก

  ยาลดไข้กับโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกโดยทั่วไป สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะไข้ ระยะช็อก และระยะฟื้น แต่ถ้าเป็นแบบไม่รุนแรง ก็จะไม่มีระยะช็อก   การรักษาและการใช้ยา เนื่องจากโรคนี้ไม่มียารักษาโดยเฉพาะจึงเป็นการรักษาตามอาการคือ ให้ยาลดไข้ โดยยาลดไข้ที่ใช้ต้องไม่กัดกระเพาะหรือ ทำให้เลือดออกง่าย ยาที่ค่อนข้างปลอดภัย คือพาราเซทตามอล แต่ต้องระวังว่าอย่าใช้ยานี้เกินขนาด ควรใช้ยาตามฉลากยาหรือ ตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด หากกินยาลดไข้ แล้วยังมีไข้สูง ให้เช็ดตัวด้วยน้ำอุ่นร่วมด้วย และกินยาซ้ำ ทุก 4-6 ชั่วโมง ในรายที่มีอาการอาเจียนบ่อย สามารถรับประทานยาแก้อาเจียนและเกลือแร่ได้ สำหรับรายที่มีอาการรุนแรง (เช่น ไข้สูงมาก ชัก อาเจียนบ่อยมาก กินอาหารไม่ได้ มีเลือดออกง่าย ซึม หรือตรวจเลือดแล้วพบเกล็ดเลือดต่ำ) หรือกำลังจะเข้าสู่ระยะช็อก อาจจะต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล โดยการรักษาที่สำคัญจะเป็นการให้น้ำเกลือทางเส้นเลือดจนกว่าคนไข้จะเข้าสู่ระยะฟื้น   ยาที่อันตรายสำหรับผู้ที่เป็นไข้เลือดออก ยาแก้ปวดในกลุ่มยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน เป็นต้น ไม่ควรใช้ยาในกลุ่มนี้เนื่องจากยาอาจทำให้เลือดออกมากขึ้น   วัคซีนไข้เลือดออก ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกชนิดเดียวที่ได้รับการรับรองให้ใช้…

การสังเกตยาเสื่อมสภาพ

  การสังเกตยาเสื่อมสภาพ   ยาเม็ด มีลักษณะแตกกร่อน กะเทาะ สีเปลี่ยนหรือซีดจาง เม็ดยาบวม มีรอยด่าง   ยาเม็ดเคลือบ ยาเม็ดเคลือบน้ำตาลอาจมีการเยิ้มเหนียวหรือมีกลิ่นผิดไปจากเดิม   ยาเม็ดแคปซูล แคปซูลแข็ง: แคปซูลมักจะบวมโป่งอาจมีจุดเชื้อราขึ้นที่เปลือกแคปซูล ภายในแคปซูลจะสังเกตเห็นว่าผงยาเปลี่ยนสี จับกันเป็นก้อน         แคปซูลนิ่ม : เปลือกแคปซูลเยิ้มเหลวเหนียวกว่าปกติ แคปซูลเปื่อยทะลุทำให้ตัวยาไหลออกมากด้านนอก   ยาผงแห้ง ผงยาจะจับตัวกันเป็นก้อนแข็งที่ไม่ปกติไม่สามารถละลายได้และถ้าที่ผนังภาชนะบรรจุมีไอน้ำหรือหยดน้ำแสดงว่า ยาเตรียมนั้นไม่เหมาะที่จะนำไปใช้   ยาน้ำเชื่อม มีลักษณะขุ่น เกิดตะกอน เปลี่ยนสี มีกลิ่นบูด หรือเหม็นเปรี้ยว   ยาน้ำแขวนตะกอน  ตะกอนจับกันเป็นก้อน เกาะ ติดกันแน่น เขย่าแล้วไม่กระจายตัวดังเดิม มีความเข้มข้น กลิ่น สีหรือรสเปลี่ยนไป   ยาน้ำอีมัลชั่น ปกติเมื่อตั้งทิ้งไว้จะแยกเป็นชั้น และเมื่อเขย่าจะเข้ากันดีแต่ถ้ายาเสื่อมแล้วเมื่อเขย่าจะไม่เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน   ยาครีม มีลักษณะแยกชั้น ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน เนื้อครีมเปลี่ยนสี หรือมีกลิ่นหืน   ยาขี้ผึ้ง…