Magnesium Sulfate

ข้อมูลยา 50% Magnesium sulfate (1 g/2 ml) Injection ข้อบ่งใช้รักษาภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ หัวใจเต้นผิดจังหวะแบบ Torsades de Pointes ค่าที่เฝ้าติดตามระดับแมกนีเซียมในเลือด, HR, RR ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาระดับแมกนีเซียมก่อนและหลังให้ยา, HR, RR หลังฉีดทันที, 15 นาที และทุก 4 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังหัวใจเต้นช้า, ความดันต่ำ, Flushing ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการหัวใจเต้นช้า ความดันต่ำ Flushing

Dobutamine

ข้อมูลยา Dobutamine (250 mg/20 ml) Injection ข้อบ่งใช้เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ ค่าที่เฝ้าติดตามBP, HR ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาติดตาม BP, HR หลังฉีดทันที และทุก 1 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังหัวใจเต้นผิดปกติ, เจ็บหน้าอก, หายใจลำบาก หอบเหนื่อย ผื่นขึ้น, hypokalemia ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการใจสั่น หายใจหอบ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ Extravasation

Dopamine

ข้อมูลยา Dopamine (250 mg/10 ml) Injection ข้อบ่งใช้ภาวะความดันโลหิตต่ำ ค่าที่เฝ้าติดตามBP, HR ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาติดตาม BP, HR หลังฉีดทันที และทุก 1 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังใจสั่น, ความดันต่ำ, เจ็บหน้าอก, ปวดศีรษะ ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการความดันผิดปกติ เจ็บหน้าอก ปวดศีรษะ

Digoxin

ข้อมูลยา Digoxin (250 mg/ml)(2ml) Injection ข้อบ่งใช้รักษาโรคหัวใจล้มเหลว และโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ ค่าที่เฝ้าติดตามK+,Ca2+,Mg2+,EKG, Digoxin serum level (หลังให้ยา 6 ช.ม.) (ตามแพทย์สั่ง) ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยา– Vital signs ทุก 15 นาที 2 ครั้ง, ทุก 30 นาที อีก 3 ครั้ง ต่อไปทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 5 ช.ม. – EKG ขณะให้ยา และหลังให้ยา 1 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังEKG ผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นแสงสีเขียวเหลือง ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อEKG ผิดปกติ คลื่นไส้, อาเจียน, มองเห็นแสงสีเหลืองเขียว

Amiodarone

ข้อมูลยา Amiodarone (150 mg/3 ml) Injection ข้อบ่งใช้อาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ค่าที่เฝ้าติดตามBP, HR, EKG ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาติดตาม BP, HR, EKG หลังฉีดทันที, ทุก 5 นาทีจนคงที่ หลังจากนั้นทุก 2 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังหัวใจเต้นช้า ความดันต่ำ ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการหัวใจเต้นช้า, ความดันต่ำ, ปวดศีรษะ

Calcium Gluconate

ข้อมูลยา 10% Calcium Gluconate (10 ml) Injection ข้อบ่งใช้ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ ค่าที่เฝ้าติดตามระดับแคลเซียมในเลือด ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาตามคำสั่งแพทย์ ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อรายงานแพทย์เมื่อ พบอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ปวดกระดูก

Adrenalin

ข้อมูลยา Adrenalin (1 mg/ml) Injection ข้อบ่งใช้อาการแพ้อย่างรุนแรง กระตุ้นหัวใจ ค่าที่เฝ้าติดตามBP, HR  ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาBP, HR หลังฉีดทันทีและ 10 นาทีและตามกำหนดจนกว่าจะ stable อาการที่ควรระวังใจสั่น, หัวใจเต้นเร็ว, ความดันสูงขึ้น,ปลายมือปลายเท้าเย็นซีด, Extravasation ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการใจสั่น, หัวใจเต้นเร็ว, ความดันสูงขึ้นผิดปกติ

Midazolam

ข้อมูลยา Midazolam (5 mg/ml) Injection ข้อบ่งใช้ช่วยให้นอนหลับ ระงับความรู้สึก ค่าที่เฝ้าติดตามBP, RR, HR ก่อนและหลังให้ยา ระยะเวลาที่ต้องติดตามหลังจากให้ยาRR, BP, HR หลังให้ยา 5-15 นาที และทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 4 ชั่วโมง จากนั้นทุก 4 ชั่วโมง อาการที่ควรระวังความดันต่ำ, กดการหายใจ กล้ามเนื้อสั่น, N&V ข้อมูลเพิ่มเติม/แจ้งแพทย์เมื่อพบอาการความดันต่ำ (BP<90/60), HR<60 ครั้ง/นาที, กดการหายใจ (RR<12), กล้ามเนื้อสั่น

บัตรคำสื่อสัมพันธ์ หน่วยบริบาลผู้สูงอายุ

กลับสู่หน้าแรกหน่วยบริบาลผู้สูงอายุ TropMed Homecare บัตรคำพูดหมวดการพยาบาล TropMed Homecare บัตรคำพูดหมวดประจำวัน TropMed Homecare บัตรคำพูดหมวดทั่วไป Homecare-บัตรคำสื่อสัมพันธ์

ฝังเข็มคือ?

Acupunctureฝังเข็มคือ? ฝังเข็ม เป็นการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเวชศาสตร์แผนจีน วิธีการรักษาแบบฝังเข็มเป็นการใช้เข็มแทงลงไปในร่างกาย กระตุ้นให้เกิดอาการเจ็บและมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นนั้น ให้เกิดการซ่อมแซมหรือรักษาในส่วนที่ขาดหายไป หรือส่วนที่เกินก็จะถูกระบายออก โดยจะหลีกเลี่ยงการใช้ยาในการรักษาแบบทางเลือกนี้ ฝังเข็มเจ็บมั้ย ก็จะเจ็บนิดนึง เนื่องจากเป็นการแทงเข็มลงไปในร่างกาย และใช้ความเจ็บในการกระตุ้นกระแสประสาท ทำให้เส้นเลือดขยาย การไหลเวียนของเลือดเยอะขึ้น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือด รวมไปถึงสารหลั่งต่างๆ ก็จะช่วยซ่อมแซมในส่วนต่างๆได้ดีขึ้น การฝังเข็มรักษาอะไรบ้าง 1. คนไข้ส่วนใหญ่จะมาด้วยอาการปวด เช่น ปวดหัว ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดขา หรือเข่าเสื่อม เป็นต้น จะฝังเข็มประมาณ 4-5ครั้งอาการก็จะดีขึ้น บางรายอาจจะฝังเข็มถึง 10 ครั้งแล้วค่อยหยุดพักได้ สำหรับรายที่เป็นแค่กล้ามเนื้ออักเสบธรรมดา สามารถฝังเข็ม 1-2 ครั้ง และกระตุ้นด้วยไฟฟ้า คนไข้ก็จะดีขึ้น หลังจากนั้นหากมีอาการก็สามารถมาทำซ้ำได้ 2. ปรับสภาพร่างกาย คนไข้ที่มีจะมีอาการ เช่น ภูมิแพ้ หูดับ การปรับประจำเดือน ใช้เวลาประมาณ 10 ครั้ง โดยจะมาอาทิตย์ละ 1-2 ครั้ง ก็จะกลับมากระตุ้น…