TEST นัดหมาย online to HIS

ระบบนัดหมายสำหรับคลินิก TEST – HIS API คำแนะนำ คลินิกพิเศษโรคหัวใจ เปิดวันพุธ. 13.00 – 15.00น. ให้การตรวจรักษาโดยอาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ เนื่องจากคลินิกโรคหัวใจมีคนไข้เก่า อยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการนัดหมายคลินิกโรคหัวใจจะทำได้จำกัด และมีเพียงบางช่วงเท่านั้น ปัจจุบันเปิดให้ทำนัดหมาย Online ในคลินิกโรคหัวใจได้เฉพาะ วันอังคารแรกของเดือน เวลา 16.00-17.00น.เท่านั้น ผู้รับบริการคลินิกพิเศษต้องเสียค่าแพทย์ 400 บาท (เบิกไม่ได้) และค่าบริการของโรงพยาบาล 150 บาท (เบิกได้ 50 บาท) ส่วนค่ายาจะมีราคาสูงกว่าปกติประมาณ 10-15% สำหรับผู้ที่ไม่เคยมีบัตรโรงพยาบาล ควรทำบัตรโรงพยาบาลก่อนนัดหมาย   [bookly-form category_id=”6″ service_id=”27″ hide=”staff_members”]  

ระบบนัดหมายฉีดวัคซีนโควิด (Sinovac) เข็มที่ 2 สำหรับบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน

ระบบนัดหมายสำหรับบุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อน ในการฉีดวัคซีนโควิด 19 (Sinovac) เข็มที่ 2  นัดหมายฉีดวันอาทิตย์ที่ 23, 30 พฤษภาคม 2564 ณ.หอผู้ป่วยนอกชั้น 3 อาคารราชนครินทร์   [vc_table vc_table_theme=”classic” allow_html=”1″]%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%89%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%87%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%201,%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%A1,%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89|30%20%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99,21%20%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1,%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2023%20%E0%B8%9E%E0%B8%84.%209-15%E0%B8%99.|2%20%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1,23%20%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1,%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2023%20%E0%B8%9E%E0%B8%84.%209-15%E0%B8%99.|5%20%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1,27%20%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1,%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2030%20%E0%B8%9E%E0%B8%84.%209-14%E0%B8%99.[/vc_table] คำแนะนำ ขอให้เลือกวันนัดให้ตรงกับวันที่แนะนำในตาราง ไม่ควรฉีดวัคซีนก่อนถึงกำหนดนัด แต่การฉีดเลยกำหนดเล็กน้อยไม่เป็นไร คำแนะนำก่อนฉีดวัคซีน ก่อนฉีดวัคซีนควรพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มนำ้มากๆ หลีกเลี่ยงการใช้ยาลดนำ้มุก (Pseudoephridine) อย่างน้อย 48 ชม. เลื่อนการฉีดวัคซีนไปก่อน ถ้าท่าน กำลังไม่สบาย มีไข้ มีอาการปวดไมเกรนรุนแรง 1-2 วันก่อนฉีด เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อุบัติเหตุที่สมอง ภายใน 3 เดือน เพิ่งคลอดบุตร ภายใน 6 สัปดาห์ เพิ่งกินยาไมเกรน (cafergot/relpax) ภายใน 5 วัน การมีประจำเดือนไม่ได้เป็นข้อห้ามในการฉีดวัคซีน อย่างไรก็ตามมีผู้เชี่ยวชาญบางท่าน แนะนำให้เลื่อนการฉีดไปก่อนในวันที่ท่านมีประจำเดือน ผลข้างเคียงทางระบบประสาทพบน้อยมาก…

อาหารเป็นพิษ (Food Poisoning)

โรคอาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) อาหารเป็นพิษ (food poisoning) อาหารเป็นพิษ เป็นภาวะที่เกิดจากรับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป ทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้องและท้องเสียถ่ายเหลวตามมา อาหารเป็นพิษสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ โดยทั่วไปอาหารเป็นพิษเป็นภาวะไม่รุนแรงและสามารถหายได้เอง แต่หากเกิดอาการรุนแรงก็อาจทำให้เกิดการสูญเสียสารน้ำและเกลือแร่ได้ สาเหตุ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคจำพวก S.aureus หรือ B. cereus หรือ C. perfringens ที่มีการปนเปื้อนในอาหาร อาทิเช่น ข้าวผัด ขนมจีน อาหารกระป๋อง เป็นต้น โดยเชื้อโรคเหล่านี้จะมีการผลิตสารพิษ (enterotoxin) ที่ทนต่อความร้อนได้ดี เมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มี enterotoxin เข้าไปก็จะเกิดอาการของอาหารเป็นพิษตามมา อาการ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนนำมาก่อนและเด่นกว่าอาการท้องเสีย อาการคลื่นไส้มีได้ทั้งรุนแรงไม่มากจนถึงรุนแรงมากจนไม่สามารถทานอาหารได้ ส่วนใหญ่มักมีอาการหลังรับประทานอาหารที่สงสัยประมาณ 2-16 ชั่วโมง หลังจากนั้นก็จะมีอาการปวดท้อง ท้องเสียถ่ายเหลวเป็นน้ำตามมา นอกจากนี้ยังอาจพบผู้ที่รับประทานทานอาหารร่วมกับผู้ป่วยก็อาจจะมีอาการได้เช่นเดียวกันในเวลาที่ไล่เลี่ยกัน วิธีการรักษา โดยปกติถ้าอาการของผู้ป่วยไม่รุนแรง สามารถหายได้เองภายใน 24-48 ชั่วโมง โดยรักษาตามอาการ (symptomatic treatment) เช่น ดื่มน้ำเกลือแร่ทดแทน, ทานยาแก้คลื่นไส้อาเจียนหรือยาแก้ปวดท้อง…

ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม HRD 2563

กลับสู่หน้าแรกหน่วยพัฒนาคุณภาพ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านที่ร่วมตอบแบบสำรวจนี้ ทุกความเห็นของท่านมีความหมายในการพัฒนาโรงพยาบาลของเรา คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและวิชาการ (HRD) คลิปวิดีโอ OKRs “งานเวชระเบียน” “งานเวชระเบียน_เวรเปล” “งานเภสัชกรรม” “งานการเงินและสวัสดิการฯ” “คลินิกท่องเที่ยว” “หอผู้ป่วยนอก” “งานรังสีวินิจฉัย” “งานกายภาพบำบัด” “งานไตเทียม” “หน่วยส่องกล้อง” “หอผู้ป่วยวิกฤต” “ห้องปฏิบัติการฯ” “หน่วยพัฒนาคุณภาพ” “ฝ่ายการพยาบาล” “งานบริหารฯ” “ที่ปรึกษาทีมบริหาร” “สามัญหญิง” “สามัญชาย” “พิเศษ 1” “พิเศษ 2” “รร.ผช.” “เวชศาสตร์แผนไทย” “เวชศาสตร์แผนจีน” “เวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ” “โภชนาการ” “Homecare” งานมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน ปี 2563

ความรู้เบื้องต้นเรื่องโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea)

โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute diarrhea) โรคอุจจาระร่วงหรือท้องเสียเฉียบพลัน เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ พบได้ทุกเพศทุกวัย นิยามของท้องเสียโดยองค์การอนามัยโลก (WHO) คือ การถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปใน 24 ชั่วโมงหรือถ่ายเป็นมูกเลือด 1 ครั้งขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง ในที่นี้จะขอกล่าวถึงอาการท้องเสียเฉียบพลันซึ่งอาการท้องเสียจะเกิดขึ้นระยะเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ หากปล่อยให้เกิดอาการท้องเสียโดยที่ไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้ผู้ป่วยสูญเสียเกลือแร่ สารน้ำ และช็อค ซึ่งทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาได้   สาเหตุ สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการท้องเสียเฉียบพลัน ในที่นี้จะแบ่งออกเป็นสาเหตุดังต่อไปนี้ การติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร ไม่ว่าจะเป็น การติดเชื้อ แบคทีเรีย, ไวรัส, พยาธิ เป็นต้น การได้รับยาหรือสารพิษต่างๆ เช่น ยาปฏิชีวนะ, ยาระบาย, ยารักษาโรคเก๊าท์ เป็นต้น โรคอื่นๆ ในระบบทางเดินอาหาร เช่น ไส้ติ่งอักเสบ, เยื่อบุช่องท้องอักเสบ, ลำไส้ขาดเลือด เป็นต้น การติดเชื้อ อื่นๆ นอกระบบทางเดินอาหาร เช่น…

ระบบนัดหมายคลินิกโรคสมองและระบบประสาท

หน้าหลักคลินิกอายุรกรรม ระบบนัดหมายคลินิกโรคสมองและระบบประสาท  (Neurology Clinic) คำแนะนำ เนื่องจากคลินิกโรคสมองและระบบประสาทมีคนไข้เก่า และผู้มารับบริการ walkin อยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการนัดหมายคลินิกจะทำได้จำกัด และมีเพียงบางช่วงเท่านั้น ผู้ป่วยใหม่สามารถนัดหมายพบแพทย์ได้เฉพาะวันจันทร์ เวลา 13.00-14.30 เท่านั้น ผู้ป่วยที่เคยรักษาที่โรงพยาบาลอื่น กรุณานำประวัติการรักษาของท่านมาด้วย เพื่อให้แพทย์พิจารณา สำหรับผู้ที่ไม่เคยมีบัตรโรงพยาบาล ควรทำบัตรโรงพยาบาลก่อนนัดหมาย ทำบัตรโรงพยาบาล ONLINE [bookly-form category_id=”4″ service_id=”25″ staff_member_id=”19″ hide=”categories,services,staff_members,date,week_days,time_range”]

ระบบนัดหมายคลินิกอายุรกรรมในเวลาราชการ

ตารางแพทย์ออกตรวจคลินิกอายุรกรรม ระบบนัดหมายคลินิกอายุรกรรมทั่วไป ในเวลาราชการ  (Inpatient Clinic) คำแนะนำ เนื่องจากคลินิกอายุรกรรมทั่วไปมีคนไข้เก่า และผู้มารับบริการ walkin อยู่เป็นจำนวนมาก ดังนั้นการนัดหมายคลินิกอายุรกรรมจะทำได้จำกัด และมีเพียงบางช่วงเท่านั้น ผู้ป่วยใหม่สามารถนัดหมายพบแพทย์ได้เฉพาะวันพุธ เวลา 9.00-12.00 และวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00น. อย่างไรก็ตามท่านสามารถ walkin ได้ตลอดในวันจันทร์-ศุกร์เวลา 9.00-16.00น. สำหรับผู้ที่ไม่เคยมีบัตรโรงพยาบาล ควรทำบัตรโรงพยาบาลก่อนนัดหมาย ทำบัตรโรงพยาบาล ONLINE [bookly-form category_id=”4″ service_id=”24″ staff_member_id=”18″ hide=”categories,services,staff_members,date,week_days,time_range”]

ระบบนัดหมายกายภาพบำบัด ในเวลาราชการ

ระบบนัดกายภาพบำบัดออนไลน์ คำแนะนำ คลินิกกายภาพบำบัดเปิดให้บริการ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00 น. และปิดรับบัตรนัดเวลา 15.00 น. ระบบนัดนี้สำหรับผู้ป่วยที่มีบัตรนัดกายภาพบำบัดแล้วเท่านั้น สำหรับผู้ป่วยใหม่ที่ต้องการมารับบริการทางกายภาพบำบัด ต้องพบแพทย์ก่อนเพื่อพิจารณาส่งปรึกษากายภาพบำบัด [bookly-form category_id=”4″ service_id=”23″ hide=”categories,services,staff_members,date,week_days,time_range”]

โรคฉี่หนู-หนังสือโรคเขตร้อนฉบับประชาชน

แค่ลุยน้ำก็เป็นโรคได้               นายชัย อายุ 20 ปี เป็นชาวนาที่ขยันขันแข็ง ว่างจากนาก็แบกแหไปจับ ปลาตามลำน้ำใกล้บ้านเป็นประจำ ปกตินายชัยเป็นคนแข็งแรงดี แต่แล้ว วันหนึ่งนายชัยก็ล้มป่วยเป็นไข้สูง ปวดเมื่อยตัวมากโดยเฉพาะที่น่อง นายชัย เชื่อว่าตนเองไม่เป็นอะไรมาก จึงซื้อยาลดไข้มากินเท่านั้น แต่อาการก็ ไม่ดีขึ้น 5 วันต่อมา นายชัยก็นอนซม กินไม่ลง ปัสสาวะออกน้อย นางชื่น ผู้ภรรยาสังเกตเห็นว่าที่ตาขาวเป็นปื้นแดงๆ เหมือนเลือดออกด้วย จึงรีบพา นายชัยมาโรงพยาบาลเพราะกลัวเป็นไข้เลือดออก               ที่โรงพยาบาล หมอตรวจพบว่าความดันโลหิตของนายชัยค่อนข้างต่ำมีเลือดออกใต้เยื่อบุตาขาวและมีดีซ่าน จึงรีบให้น้ำเกลือเข้าทางหลอดเลือดดำ และตรวจเลือดและปัสสาวะ พบว่า นายชัยติดเชื้อโรคฉี่หนู และมีภาวะแทรกซ้อนคือ ตับอักเสบ และไตทำงานไม่ดี หมอ : สามีคุณเป็นโรคฉี่หนูครับ ไม่ใช่ไข้เลือดออก นี่มีอาการรุนแรงมากเลย ถ้ามาโรงพยาบาลช้าไป…