แบบฟอร์มแนะนำการบริการ Suggestion form

แบบฟอร์มแนะนำการบริการ Suggestion form Please enable JavaScript in your browser to complete this form.ประเด็น Topic *ชื่นชมบริการ Admireติ / ร้องเรียน Complainแนะนำ / อื่นๆ Suggestionหน่วยงานที่ต้องการแนะนำการบริการ? Which department do you have a suggestion for? *ข้อความ Sugestion **กรุณาใส่รายละเอียดเรื่องราว ข้อมูลแผนก วัน เวลา ที่เข้ารับบริการ ให้ครบถ้วนขอบพระคุณครับ **ทางโรงพยาบาลจะเก็บข้อมูลในเสนอความคิดเห็นของท่านเป็นความลับชื่อ – นามสกุล NameFirstLastเลข HN(ถ้ามี) Hospital no.(If known)โทรศัพท์ Phoneอีเมล EmailEmailSubmit

ฟ้าทะลายโจร กับ COVID-19

ฟ้าทะลายโจร กับ COVID-19 ข้อมูลทั่วไป  ชื่อวิทยาศาสตร์: Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees ชื่ออื่น: หญ้ากันงู, น้ำลายพังพอน, ฟ้าสาง, เมฆทะลาย, ฟ้าสะท้าน สารสำคัญ: Andrographolide, NeoAndrographolide, 14-deoxy-andrographolide ส่วนที่ใช้:  ทั้งต้น ใบสด ใบแห้ง โดยใบจะเก็บมาใช้ได้เมื่อต้นมีอายุได้ 3-5 เดือน ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง ห้ามใช้ ในผู้ที่มีอาการแพ้ฟ้าทะลายโจร ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร เนื่องจากอาจทำให้เกิดความผิดปกติกับทารกในครรภ์ได้ ห้ามใช้ ในผู้ป่วยโรคตับ ไต หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการอ่อนแรง ระวังการใช้ร่วมกับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด และยาลดความดันโลหิต เนื่องจากอาจเสริมฤทธิ์กันได้ ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยกลุ่มโรคภูมิต้านตนเอง เช่น โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคลูปัสหรือเอสแอลอี โรครูมาตอยด์ เนื่องจากอาจกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ไวต่อการทำงานมากขึ้น อาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นหลังรับประทาน อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ…

ระบบนัดหมายกายภาพบำบัด ในเวลาราชการ

ระบบนัดกายภาพบำบัดออนไลน์ คำแนะนำ คลินิกกายภาพบำบัดเปิดให้บริการ วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00 น. และปิดรับบัตรนัดเวลา 15.00 น. ระบบนัดนี้สำหรับผู้ป่วยที่มีบัตรนัดกายภาพบำบัดแล้วเท่านั้น สำหรับผู้ป่วยใหม่ที่ต้องการมารับบริการทางกายภาพบำบัด ต้องพบแพทย์ก่อนเพื่อพิจารณาส่งปรึกษากายภาพบำบัด [bookly-form category_id=”4″ service_id=”23″ hide=”categories,services,staff_members,date,week_days,time_range”]

ศึกษาดูงาน/ ฝึกปฏิบัติงานทางคลินิก

การศึกษาดูงานการฝึกปฏิบัติงานทางคลินิกการศึกษาดูงานPlease enable JavaScript in your browser to complete this form.ชื่อสถาบัน/ มหาวิทยาลัย *หลักสูตรการศึกษา *ชั้นปี *ช่วงวันและเวลาที่สนใจ *DateTimeจำนวนผู้มาศึกษาดูงาน (คน)รวมผู้ประสานงานชื่อ-สกุลของผู้ประสานงาน *FirstLastเบอร์โทรศัพท์มือถือที่สามารถติดต่อได้ของผู้ประสานงาน *Email ของผู้ประสานงาน *Line ID ของผู้ประสานงาน *MessageSubmit การฝึกปฏิบัติงานทางคลินิกPlease enable JavaScript in your browser to complete this form.ชื่อสถาบัน/ มหาวิทยาลัย *หลักสูตรการศึกษา *ชั้นปี *วันที่เริ่มฝึกปฏิบัติงานทางคลินิก *วันที่สิ้นสุดการฝึกปฏิบัติงานทางคลินิก *จำนวนนิสิตนักศึกษากายภาพบำบัดที่มาฝึกปฏิบัติงานทางคลินิก (คน) *ชื่อ-สกุลของอาจารย์ผู้ประสานงาน *FirstLastเบอร์โทรศัพท์มือถือที่สามารถติดต่อได้ของอาจารย์ผู้ประสานงาน *Email ของอาจารย์ผู้ประสานงาน *Line ID ของอาจารย์ผู้ประสานงาน *EmailSubmit กลับสู่หน้าแรกงานกายภาพบำบัด

โรคเท้าช้าง

โรคเท้าช้าง Lympphatic filariasis โรคเท้าช้าง เป็นโรคที่เกิดจากหนอนพยาธิตัวกลมฟิลาเรีย มีลักษณะคล้ายเส้นด้ายอาศัยอยู่ในระบบน้ำเหลืองของคน โดยมียุงเป็นพาหะนำโรค มีอาการที่เห็นได้ชัด คือ ขา แขน หรืออวัยวะเพศบวมโตผิดปกติ เนื่องจากภาวะอุดตันของท่อน้ำเหลือง สาเหตุและแหล่งระบาด โรคเท้าช้างในประเทศไทยมี 2 ชนิด ชนิดแรกเกิดจากเชื้อ Brugia malayi มักมีอาการแขนขาโต พบมากในบริเวณที่ราบทางฝั่งตะวันออกของภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไปจนถึงนราธิวาส โดยมียุงลายเสือ (Mansonia) เป็นพาหะ ยุงชนิดนี้กัดกินเลือดของสัตว์และคน ชอบออกหากินเวลากลางคืน มีแหล่งเพาะพันธุ์ตามแอ่งหรือหนองน้ำที่มีวัชพืชและพืชน้ำต่างๆ เช่น จอก ผักตบชวา แพงพวยน้ำ หรือหญ้าปล้อง ชนิดที่สองเกิดจากเชื้อ Wuchereria bancrofti มักทำให้เกิดอาการบวมโตของอวัยวะสืบพันธุ์และแขนขา พบมากในบริเวณภาคตะวันตกของประเทศไทย เช่น ที่อำเภอสังขละบุรี อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี; อำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก; อำเภอละอุ่น อำเภอเมือง จังหวัดระนอง เป็นต้น ยุงพาหะนำโรคเท้าช้างชนิดนี้ได้แก่ยุงลายป่า (Aedes niveus group) เพาะพันธุ์ตามป่าไผ่ ในโพรงไม้…

โรคพยาธิใบไม้ปอด

โรคพยาธิใบไม้ปอด Lung flukes โรคพยาธิใบไม้ปอด ชนิดพาราโกนิมัส Paragonimus เข้าไปอาศัยอยู่ในปอด โรคนี้เกิดได้ในคนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด เช่น แมว สุนัข เป็นต้น การติดต่อโรค คนและสัตว์ติดต่อโรคได้โดยการกินปูและกุ้งน้ำจืดบางชนิดที่ดิบๆ เช่น ปูน้ำตก ปูลำห้วย ปูป่า กุ้งฝอย ที่มีตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิใบไม้ปอดอยู่ ตัวอ่อนระยะติดต่อของพยาธิจะไชทะลุผนังลำใส้เล็กส่วนต้นออกสู่ช่องท้องผ่านกระบังลมเข้าฝังตัวในปอด เจริญเป็นตัวเต็มวัยอยู่ในถุงหุ้ม และออกไข่สีเหลืองอมน้ำตาลจำนวนมาก ไข่จะออกมากับเสมหะและบางครั้งอาจพบตัวพยาธิในเสมหะด้วย ถ้าคนไข้กลืนเสมหะอาจพบไขพยาธิในอุจจาระ ไข่ที่ปนเปื้อนในน้ำจะเจรฺญเติบโตในหอยและปูตามลำดับ รูปปูขน Eriocheir japonicus เป็นตัวนำโฮสท์ตัวกลางตัวที่สองของพยาธิ P. westermani ที่พบบ่อยที่ประเทศญี่ปุ่น จีนและเกาหลี พยาธิตัวอ่อนระยะติดต่อ (metacercaria) จะอยู่ในเหงือกของปู อยู่เรียงกันเป็นแถว รูปกุ้ง Procambarus clarkii ตัวนำโฮสท์ตัวกลางตัวที่สองอีกชนิดหนึ่งของพยาธิ P. westermani วงจรชีวิตพยาธิใบไม้ปอด แหล่งระบาด พบโรคนี้ในหลายประเทศของทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ สำหรับประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยในบางท้องที่ของจังหวัดเพชรบูรณ์ สระบุรี นครนายก เชียงราย น่าน เลย ราชบุรี…

โรคพยาธิหอยโข่ง

โรคพยาธิหอยโข่ง Angiostrongyliasis โรคพยาธิหอยโข่ง เป็นโรคที่เกิดจากพยาธิตัวกลมที่มีชื่อว่า แองจิโอสตรองจิลัส แคนโตเนนซิส  Angiostrongylus cantonensis ซึ่งตามปกติเป็นพยาธิที่อาศัยอยู่ในหลอดเลือดแดงของปอดหนู รูปร่างลักษณะ                                                                                           …

โรคพยาธิใบไม้ตับ

โรคพยาธิใบไม้ตับ (Liver flukes) โรคพยาธิใบไม้ตับในประเทศไทย เกิดจาก พยาธิใบไม้ตับ ชนิด Opisthorchis viverrini ซึ่งมีรูปร่างแบนคล้ายใบไม้ ส่วนหัวและท้ายเรียวมน ขนาด ยาว 7-12 มม. กว้าง 2-3 มม. พบมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ส่วนภาคอื่นๆ พบน้อย โรคนี้เป็นสาเหตุหลักของโรคมะเร็งท่อน้ำดีในคนไทย การติดโรค โรคนี้เกิดจากการกินอาหารประเภทน้ำจืดชนิดมีเกล็ดที่มีตัวอ่อนของพยาธิอยู่ หากทานดิบ หรือสุกๆ ดิบๆ เช่น ก้อยปลา ปลาหมกไฟ ปลาร้า ฯลฯ ปลาในประเทศไทยที่พบว่ามีพยาธิตัวอ่อน เช่น ปลาซิว ปลาสร้อย ปลาขาว ปลาตะเพียน ฯลฯ อาการ ระยะแรกๆมักจะไม่มีอาการ เมื่อมีพยาธิสะสมมากๆเป็นเวลานานจะทำให้เกิดอาการ เช่น ท้องอืด แน่นท้อง เจ็บบริเวณชายโครงขวา ออกร้อนบริเวณหน้าท้อง ถ้าปล่อยไว้นานๆ จะมีอาการอักเสบของท่อน้ำดี ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับโต มีไข้ บางรายอาจกลายเป็นมะเร็งท่อน้ำดีในตับ และอาจถึงตายได้…